หน้าแรก / รายงานการพํฒนาที่ยั่งยืน 2560 / การแบ่งปันคุณค่าจากองค์กรสู่ระดับโลก การพัฒนาการศึกษา

การศึกษาคือรากฐานอย่างหนึ่งของการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทไทยเบฟมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านกิจกรรม โครงการต่างๆ ทั้งในองค์กร ชุมชน และสถานศึกษาต่างๆซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในประเด็นการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา

โครงการให้ทุนการศึกษาบุตร
บริษัทไทยเบฟไม่เพียงมุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทชั้นนำในการผลิตเครื่องดื่มระดับแนวหน้าเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญที่สุดนั่นคือ การศึกษาของเด็กและเยาวชน ซึ่งนับเป็นก้าวแรกของการนำไปสู่การพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติต่อไป ด้วยเหตุนี้บริษัทจึงริเริ่มโครงการทุนการศึกษาบุตรพนักงาน ตั้งแต่ปี 2553 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนความก้าวหน้าทางการศึกษาให้แก่บุตรของพนักงานที่มีผลการเรียนดี อีกทั้งช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง โดยบริษัทได้กำหนดการพิจารณาทุนการศึกษาออกเป็น 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกเป็นทุนระดับประถมศึกษาถึงประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงในเดือนสิงหาคมปี 2560 สำหรับการมอบทุนครั้งที่สองเป็นทุนระดับอุดมศึกษาและทุนการศึกษากรณีพิเศษ (โครงการช้างเผือก) ในเดือนกันยายน 2560

ในปี 2560 มีบุตรพนักงานได้รับทุนจำนวน 1,123 ทุน และทุนการศึกษากรณีพิเศษ (โครงการช้างเผือก) จำนวน 10 ทุน โดยสถิติ การมอบทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปีปัจจุบัน จำนวน 8,169 ทุน รวมเป็นเงิน 50,538,000 บาท นอกจากนี้บุตรที่ได้รับ ทุนการศึกษาทั้งกรณีพิเศษ (โครงการช้างเผือก) และทุนกรณีทั่วไปยังได้เข้าร่วมทำงานกับบริษัทไทยเบฟ ตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งสิ้นจำนวน 21 คน

บริษัทจะยังคงยึดมั่นในการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่บุตรของพนักงาน เพื่อให้พวกเขาเติบโตเป็นกำลังสำคัญด้วยรากฐานทางการศึกษาที่มั่นคงต่อไป


โครงการครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เป็นโครงการที่บริษัทไทยเบฟส่งเสริมให้เกิดการสร้างอาชีพให้แก่ชุมชนที่อยู่ห่างไกล โดยดำเนินงานร่วมกับครูที่ได้รับรางวัลครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จาก 3 หน่วยงาน คือ สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กองบัญชาการ ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ตั้งแต่รุ่นที่ 5 ในปี 2556 เป็นต้นมา โดยโครงการ ครูเจ้าฟ้าฯ ได้ริเริ่มจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ครอบคลุมด้านคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ทำให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการประกอบอาชีพที่สร้างรายได้แบบพึ่งพาตนเองได้ อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ป่าอีกด้วย ตัวอย่างเช่น

1. โครงการเลี้ยงผึ้งรักษ์ป่า
จากการสนับสนุนของบริษัทไทยเบฟ ชุมชนร่วมกันสร้างรังผึ้งจำลองเป็นกล่องสี่เหลี่ยมแล้วนำไปแขวนหรือวางตามร่มไม้บนพื้นที่ป่าชุมชนจำนวนกว่า 2,000 ไร่ เพื่อหลอกล่อให้แม่ผึ้งได้มาอยู่อาศัยและทำรังในกล่องรังผึ้ง โดยผึ้งจะผลิตน้ำผึ้งเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งสามารถสร้างรายได้มากขึ้นตลอดระยะ 2 ปีที่ผ่านมา และยังเป็นการอนุรักษ์ป่า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของป่าต้นน้ำ ที่เป็นต้นน้ำสำคัญของประเทศอีกทางด้วย

2.โครงการ “ปลูกกาแฟตามแนวทาง ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ”
เพราะกาแฟเป็นพืชที่ชอบอากาศเย็นและหากปลูกภายใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่จะทำให้ผลผลิตกาแฟมีคุณภาพสูง รสชาติเข้มข้น และมีกลิ่นหอมมากกว่ากาแฟที่ปลูกกลางแจ้ง สมาชิกของชุมชนจึงรวมกลุ่มปลูกกาแฟพันธุ์อาราบิก้าบนพื้นที่ป่าชุมชนจำนวน 12 ไร่ และได้รับการสนับสนุนเครื่องกะเทาะ เปลือกกาแฟจากบริษัทไทยเบฟ เพื่อบริการแก่สมาชิกและเพิ่มมูลค่ากาแฟให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น และยังเป็นส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์ป่าจำนวน 2,000 ไร่อีกด้วย

โครงการเรียนเพิ่มเสริมอาชีพกับไทยเบฟ
เป็นโครงการที่บริษัทไทยเบฟได้จัดเตรียมหลักสูตรต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งโครงการเรียนเพิ่มเสริมอาชีพนี้มีความสำคัญโดยที่ชุมชนมีอาชีพ มีรายได้ และเป็นการวางรากฐานความยั่งยืนที่ดีของชุมชน ผลที่ได้กล่าวคือ เป็นการสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ และชุมชน และการดำเนินงานเพื่อสังคมของบริษัทให้เป็นที่รู้จักของชุมชน อย่างยั่งยืน ซึ่งโครงการนี้ประกอบด้วย หลักสูตรตัดผมชาย และหญิง หลักสูตรตัดเย็บเสื้อผ้า หลักสูตรการสอนการทำอาหาร และขนมประเภทต่างๆ หลักสูตรการซ่อมมอเตอร์ไซค์ หลักสูตร การเกษตรสวนครัวจากวัสดุเหลือใช้ เป็นต้น ซึ่งทางโครงการ จะทำการคัดเลือกชุมชนที่เหมาะสม มีความพร้อม มีเวลาและสนใจ ในโครงการเพียงพอ โดยจัดให้มีการอบรมบนพื้นที่ของชุมชน ในถิ่นทุรกันดาร เพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในการเรียนรู้ และเมื่ออบรมจนผ่านเกณฑ์จะมอบอุปกรณ์ที่จำเป็นต่างๆ ให้ และมีการติดตามผลทุกระยะ

โครงการสนับสนุนกิจกรรมของสถาบันการศึกษา
EISA: Educational Instituted Support Activity
เป็นโครงการที่บริษัทไทยเบฟให้การสนับสนุนการพัฒนาเยาวชนซึ่งป็นรากฐานสำคัญของประเทศผ่านกิจกรรมต่างๆ โดยมุ่งหวังให้ เยาวชนมีความรู้เป็น “คนเก่ง” ควบคู่ไปกับการเป็น “คนดี” ของสังคม และนำความรู้ความสามารถมาช่วยพัฒนาสังคม ชุมชน และเป็นต้นแบบที่ดีของเยาวชนในรุ่นต่อไป ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาเยาวชน ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ดังนี้

การพัฒนาเยาวชนกับกีฬาในระดับอุดมศึกษา
บริษัทไทยเบฟได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนากีฬาในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้เยาวชนได้มีพื้นที่ในการแข่งขันกีฬาอย่างต่อเนื่อง โดยสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาร่วมกับมหาวิทยาลัย และพัฒนาหลักสูตรทางด้านกีฬา ซึ่งบริษัทเชื่อว่าการทำกิจกรรมระหว่างการเรียนในระดับอุดมศึกษาถือว่าเป็นส่วนสำคัญในการเรียนรู้ และสร้างประสบการณ์ก่อนออกไปสู่การทำงานจริง นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาทักษะทางการกีฬาควบคู่ไปกับการสร้างสรรค์ประสบการณ์ และแบ่งปันโอกาสให้เพื่อนในระดับอุดมศึกษา ร่วมกับเพื่อนที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ อีกด้วย
นักศึกษากว่า
20,000 คน
ที่เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษากว่า
200
โครงการที่ร่วมกับมหาวิทยาลัย
จำนวนมหาวิทยาลัย
32
มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ

การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเป็นผู้ประกอบการที่ดีในอนาคต
เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะในการเป็นผู้ประกอบการ บริษัทไทยเบฟจึงสนับสนุนการสร้างบริษัทจำลอง ที่มีหลักสูตรต่างๆ ให้นักศึกษา ได้เรียนรู้การจัดการร้านค้า ทั้งการวางแผนการตลาด การจัดโปรโมชั่นต่างๆ การจัดสินค้า การทำสต๊อคสินค้า การทำบัญชี รวมไปถึง การเรียนรู้การใช้ระบบ Rich POS V7.0 for Retailer and Restaurant (F&B) โดยมุ่งหวังที่จะสร้างสรรค์และแบ่งปันความรู้การจัดการอย่างมี จริยธรรม และมีความเป็นมืออาชีพให้นักศึกษาได้เรียนรู้ และนำไปพัฒนาต่อไป

มอบเงินทุนตั้งต้นจัดตั้งบริษัทจำลอง มูลค่า 1,000,000 บาท
โครงการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่เพื่อสังคม (Beta Young Entrepreneur)
เป็นโครงการที่เกิดจากความร่วมมือของ 3 หน่วยงาน คือ สภาหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และมูลนิธิ สิริวัฒนภักดี ภายใต้บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ร่วมพัฒนานักศึกษารุ่นใหม่สู่เส้นทางของการเป็นผู้ประกอบการ ที่มีศักยภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้การเป็นผู้ประกอบการจากการลองทำสิ่งต่างๆ โดยธุรกิจตั้งต้น 20,000 บาท และบริษัทจำลอง เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นการเริ่มทำธุรกิจ โดยนักศึกษาจะได้ มีโอกาสนำแผนธุรกิจที่ได้ทำในกิจกรรมเหล่านี้ไปต่อยอด ในการประกอบธุรกิจจริงหลังจากที่จบการศึกษาไปแล้ว และยังเป็นการส่งเสริมโครงการ Start up ให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ของประเทศให้มีโอกาสได้แสดงออกซึ่งศักยภาพที่แท้จริงของตัวเอง ซึ่งปัจจุบันมีนักศึกษาจบไปแล้วกว่า 120 คน

ARTTAROS CREATIVE
การรวมตัวกันของนักศึกษาโครงการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ เพื่อสังคม รุ่นที่ 3 สู่การทำงานจริง จากการทำกิจกรรม กับไทยเบฟทำให้พวกเราได้เรียนรู้ว่าการทำงานต้องมีการวางแผนให้รอบครอบ และมีการเตรียมแผนสำรอง ในการทำงานเสมอ และรวมถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมจากไทยเบฟ มีกิจกรรมที่ทำให้ พวกเรารู้ว่า สิ่งที่เราชอบและถนัดคืออะไร เมื่อเราทำในสื่ง ที่เรารักแล้วเราก็จะทำออกมาได้ดี ซึ่งทำให้พวกเรารวมตัวกัน เพื่อรับจัดงานและกิจกรรมต่างๆ ในชื่อ “ARTTRAROS CREATIVE.”
การเข้ามามีส่วนร่วมกับไทยเบฟ
บริษัทไทยเบฟมีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพของ นักศึกษา โดยนำนักศึกษาเข้าร่วมฝึกงานในหน่วยงานต่างๆ ของบริษัท เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงโดยลงมือปฎิบัติงาน จริง และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นเพื่อเป็นพื้นฐานการทำงานในอนาคต เช่น นักศึกษามีโอกาสเข้าเยี่ยมชมและศึกษาดูงานในโรงงานและ โกดังสินค้า ทั้งโรงงานโออิชิ ไทยเบฟโลจิสติก และบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ นักศึกษาและบริษัทจัดกิจกรรม CSR ให้นักศึกษามีส่วนร่วม ในการทำกิจกรรม เช่น โครงการรากแก้ว การทำฝายน้ำ นอกจากนี้ นักศึกษายังเข้ามาเป็นจิตอาสาร่วมกับบริษัททำกิจกรรม ทำความสะอาดวัด คลีนคลองในงาน Water และ River Festival โครงการไทยเบฟร่วมใจต้านภัยหนาว และกิจกรรมอื่นๆ เช่น ชุมชนดีมีรอยยิ้มกับไทยเบฟ เยาวชนต้นแบบบางคูวัด

  • นักศึกษามาเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบผ้าขาวม้ากับทีมงาน ประชารัฐในโครงการ “ผ้าขาวม้าท้องถิ่น หัตถศิลป์ไทย”

  • บริษัทพัฒนาหลักสูตรร่วมกับมหาวิทยาลัย เปิดวิชาใหม่สำหรับ นักศึกษาที่ต้องการเรียนรู้ เช่น หลักสูตรเกี่ยวกับ Food Service ร่วมกับ So asean การเสริมสร้างความรู้ ทักษะ ด้านการบริหารงาน และการทำธุรกิจ ผ่านประสบการณ์ของผู้บริหารบริษัทไทยเบฟ
เชื่อมโยงอาเซียนให้เป็นหนึ่ง ลดความแตกต่างทางเชื้อชาติ สืบสานวัฒนธรรมแห่งภูมิภาค ผ่านดนตรีที่ถือว่าเป็นภาษาสากลของมนุษยชาติ
ด้วยปณิธานที่มุ่งมั่นในการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ คนในภูมิภาคอาเซียนให้แนบแน่น เพื่อลดช่องว่างความแตกต่าง ทางเชื้อชาติและสืบสานวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคร่วมกัน บริษัทไทยเบฟ จึงได้ริเริ่มก่อตั้งและให้การสนับสนุนวงดนตรีพื้นบ้านอาเซียน “C asean Consonant” ที่มีกลุ่มคนรุ่นใหม่เป็นกำลังสำคัญนำเสนอเอกลักษณ์ทางดนตรีประจำชาติสู่สายตาประชาคมโลก เพราะเล็งเห็นว่าดนตรีเป็นภาษาสากลของมนุษยชาติ การสื่อสารผ่านดนตรีอยู่เหนือความแตกต่างทางภาษา วัฒนธรรม ศาสนา การเมือง และเศรษฐกิจ สามารถหลอมรวมผู้คนเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี

The “วงดนตรี C asean Consonant” ประกอบด้วยนักดนตรีเยาวชนอาเซียนจาก 10 ประเทศ โดยมีครูผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี 10 ท่านจาก 10 ชาติอาเซียน รับหน้าที่คัดเลือกและเรียบเรียงบทเพลง เพื่อให้นักดนตรีร่วมกันบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ของแต่ละประเทศ และแสดงในเวทีมหกรรมดนตรีระดับโลก และเวที การฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตระดับภูมิภาคหลายเวที นับเป็น การสานสัมพันธ์อาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวผ่านเสียงเพลง และยังสะท้อนให้เห็นถึงการอนุรักษ์มรดกทางดนตรีอย่างงดงามอีกด้วย

ในปี 2560 “C asean Consonant” ได้เป็นตัวแทนของภูมิภาคอาเซียนในเวทีสำคัญระดับนานาชาติ โดยได้รับเชิญจากรัฐบาลจีนไปแสดงและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนร่วมกับศิลปินจีนในงาน Shanghai International Music Festival ณ มหานครเซี่ยงไฮ้ และงาน China-ASEAN Music Festival นครหนานหนิง ประเทศจีน อีกทั้งยังได้รับเชิญจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ให้เป็นวงดนตรีหลักแสดงในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งภูมิภาคอาเซียน รวมถึงร่วมแสดงในงานโอกาสครบรอบ 40 ปีความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป ภายใต้งาน ASEAN-EU Anniversary Concert อีกด้วย ด้วยปณิธานที่มุ่งมั่นในการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ คนในภูมิภาคอาเซียนให้แนบแน่น เพื่อลดช่องว่างความแตกต่าง ทางเชื้อชาติและสืบสานวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคร่วมกัน บริษัทไทยเบฟ จึงได้ริเริ่มก่อตั้งและให้การสนับสนุนวงดนตรีพื้นบ้านอาเซียน “C asean Consonant” ที่มีกลุ่มคนรุ่นใหม่เป็นกำลังสำคัญนำเสนอเอกลักษณ์ทางดนตรีประจำชาติสู่สายตาประชาคมโลก เพราะเล็งเห็นว่าดนตรีเป็นภาษาสากลของมนุษยชาติ การสื่อสารผ่านดนตรีอยู่เหนือความแตกต่างทางภาษา วัฒนธรรม ศาสนา การเมือง และเศรษฐกิจ สามารถหลอมรวมผู้คนเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี

The “วงดนตรี C asean Consonant” ประกอบด้วยนักดนตรีเยาวชนอาเซียนจาก 10 ประเทศ โดยมีครูผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี 10 ท่านจาก 10 ชาติอาเซียน รับหน้าที่คัดเลือกและเรียบเรียงบทเพลง เพื่อให้นักดนตรีร่วมกันบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ของแต่ละประเทศ และแสดงในเวทีมหกรรมดนตรีระดับโลก และเวที การฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตระดับภูมิภาคหลายเวที นับเป็น การสานสัมพันธ์อาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวผ่านเสียงเพลง และยังสะท้อนให้เห็นถึงการอนุรักษ์มรดกทางดนตรีอย่างงดงามอีกด้วย

ในปี 2560 “C asean Consonant” ได้เป็นตัวแทนของภูมิภาคอาเซียนในเวทีสำคัญระดับนานาชาติ โดยได้รับเชิญจากรัฐบาลจีนไปแสดงและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนร่วมกับศิลปินจีนในงาน Shanghai International Music Festival ณ มหานครเซี่ยงไฮ้ และงาน China-ASEAN Music Festival นครหนานหนิง ประเทศจีน อีกทั้งยังได้รับเชิญจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ให้เป็นวงดนตรีหลักแสดงในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งภูมิภาคอาเซียน รวมถึงร่วมแสดงในงานโอกาสครบรอบ 40 ปีความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป ภายใต้งาน ASEAN-EU Anniversary Concert อีกด้วย ด้วยปณิธานที่มุ่งมั่นในการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ คนในภูมิภาคอาเซียนให้แนบแน่น เพื่อลดช่องว่างความแตกต่าง ทางเชื้อชาติและสืบสานวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคร่วมกัน บริษัทไทยเบฟ จึงได้ริเริ่มก่อตั้งและให้การสนับสนุนวงดนตรีพื้นบ้านอาเซียน “C asean Consonant” ที่มีกลุ่มคนรุ่นใหม่เป็นกำลังสำคัญนำเสนอเอกลักษณ์ทางดนตรีประจำชาติสู่สายตาประชาคมโลก เพราะเล็งเห็นว่าดนตรีเป็นภาษาสากลของมนุษยชาติ การสื่อสารผ่านดนตรีอยู่เหนือความแตกต่างทางภาษา วัฒนธรรม ศาสนา การเมือง และเศรษฐกิจ สามารถหลอมรวมผู้คนเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี

The “วงดนตรี C asean Consonant” ประกอบด้วยนักดนตรีเยาวชนอาเซียนจาก 10 ประเทศ โดยมีครูผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี 10 ท่านจาก 10 ชาติอาเซียน รับหน้าที่คัดเลือกและเรียบเรียงบทเพลง เพื่อให้นักดนตรีร่วมกันบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ของแต่ละประเทศ และแสดงในเวทีมหกรรมดนตรีระดับโลก และเวที การฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตระดับภูมิภาคหลายเวที นับเป็น การสานสัมพันธ์อาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวผ่านเสียงเพลง และยังสะท้อนให้เห็นถึงการอนุรักษ์มรดกทางดนตรีอย่างงดงามอีกด้วย

ในปี 2560 “C asean Consonant” ได้เป็นตัวแทนของภูมิภาคอาเซียนในเวทีสำคัญระดับนานาชาติ โดยได้รับเชิญจากรัฐบาลจีนไปแสดงและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนร่วมกับศิลปินจีนในงาน Shanghai International Music Festival ณ มหานครเซี่ยงไฮ้ และงาน China-ASEAN Music Festival นครหนานหนิง ประเทศจีน อีกทั้งยังได้รับเชิญจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ให้เป็นวงดนตรีหลักแสดงในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งภูมิภาคอาเซียน รวมถึงร่วมแสดงในงานโอกาสครบรอบ 40 ปีความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป ภายใต้งาน ASEAN-EU Anniversary Concert อีกด้วย ด้วยปณิธานที่มุ่งมั่นในการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ คนในภูมิภาคอาเซียนให้แนบแน่น เพื่อลดช่องว่างความแตกต่าง ทางเชื้อชาติและสืบสานวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคร่วมกัน บริษัทไทยเบฟ จึงได้ริเริ่มก่อตั้งและให้การสนับสนุนวงดนตรีพื้นบ้านอาเซียน “C asean Consonant” ที่มีกลุ่มคนรุ่นใหม่เป็นกำลังสำคัญนำเสนอเอกลักษณ์ทางดนตรีประจำชาติสู่สายตาประชาคมโลก เพราะเล็งเห็นว่าดนตรีเป็นภาษาสากลของมนุษยชาติ การสื่อสารผ่านดนตรีอยู่เหนือความแตกต่างทางภาษา วัฒนธรรม ศาสนา การเมือง และเศรษฐกิจ สามารถหลอมรวมผู้คนเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี

The “วงดนตรี C asean Consonant” ประกอบด้วยนักดนตรีเยาวชนอาเซียนจาก 10 ประเทศ โดยมีครูผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี 10 ท่านจาก 10 ชาติอาเซียน รับหน้าที่คัดเลือกและเรียบเรียงบทเพลง เพื่อให้นักดนตรีร่วมกันบรรเลงเพลงด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ของแต่ละประเทศ และแสดงในเวทีมหกรรมดนตรีระดับโลก และเวที การฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตระดับภูมิภาคหลายเวที นับเป็น การสานสัมพันธ์อาเซียนให้เป็นหนึ่งเดียวผ่านเสียงเพลง และยังสะท้อนให้เห็นถึงการอนุรักษ์มรดกทางดนตรีอย่างงดงามอีกด้วย

ในปี 2560 “C asean Consonant” ได้เป็นตัวแทนของภูมิภาคอาเซียนในเวทีสำคัญระดับนานาชาติ โดยได้รับเชิญจากรัฐบาลจีนไปแสดงและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนร่วมกับศิลปินจีนในงาน Shanghai International Music Festival ณ มหานครเซี่ยงไฮ้ และงาน China-ASEAN Music Festival นครหนานหนิง ประเทศจีน อีกทั้งยังได้รับเชิญจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ให้เป็นวงดนตรีหลักแสดงในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการก่อตั้งภูมิภาคอาเซียน รวมถึงร่วมแสดงในงานโอกาสครบรอบ 40 ปีความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป ภายใต้งาน ASEAN-EU Anniversary Concert อีกด้วย
สีสัน เส้นสาย สืบสาน แลกเปลี่ยน เรียนรู้
บริษัทไทยเบฟให้การสนับสนุนโครงการส่งเสริมศิลปะการวาดรูป “Asia-Link SketchWalk Bangkok” ซึ่งเป็นการวาดรูป นอกสถานที่ โดยมีชาวเอเชียกว่า 12 ประเทศ จำนวนกว่า 500 คน ร่วมเสริมสร้างการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม และตามรอย ศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมในย่านชุมชนเมืองเก่า ณ เกาะรัตนโกสินทร์ รวมถึงบันทึกเรื่องราวความทรงจำ ของการสูญเสียอันยิ่งใหญ่ของประเทศไทย ณ บริเวณพระบรมมหาราชวังและท้องสนามหลวง

การจัดกิจกรรม Royal Project Sketchwalk และ“C asean SketchTalk” เพื่อสนับสนุนกลุ่ม Bangkok Sketchers เนื่องจากให้ความสำคัญกับการพัฒนาศิลปะและฝึกฝนทักษะ การวาดลงบนกระดาษและดิจิทัล ในรูปแบบการ Sketch ด้วยมือ ซึ่งถือเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญของการวาดภาพ

รายงาน
การพัฒนาที่ยั่งยืน 2560