รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2563

Close
หน้าแรก / รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2563 / ใส่ใจดูแลบุคลากร ลูกค้า และผู้บริโภค
สิทธิมนุษยชน
ไทยเบฟดำเนินธุุรกิจโดยยึดมั่นในหลักสิทธิมนุุษยชนมาอย่่างต่่อเนื่่อง และเคารพใน สิิทธิิมนุุษยชนของผู้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีียทั้้งหมด รวมถึงปฏิบััติตามกฎหมายที่่เกี่่ยวข้อง ทั้้งกฎหมายภายในประเทศและหลัักสากลไม่่ว่่าจะเป็นพระราชบัญญััติคุ้้มครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ปฏิญญาสากลว่่าด้้วยสิทธิมนุุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) หลักการขององค์์การสหประชาชาติิว่่าด้้วยธุุรกิิจกัับสิิทธิิมนุุษยชน (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights) และ ปฏิิญญาว่่าด้้วยหลักการและสิิทธิิขั้้นพื้้นฐานในการทำงานขององค์์การแรงงาน ระหว่่างประเทศ (The International Labour Organization Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)
นอกจากนี้้ไทยเบฟยัังได้้กำหนดแนวทางในการบริหารจัดการด้านสิทธิมนุุษยชนตลอดทั้้งห่่วงโซ่่คุณค่่าดัังนี้
  • ให้้ความเคารพในสิิทธิิมนุุษยชนโดยปฏิิบััติิต่่อทุุกภาคส่่วนของธุุรกิิจอย่่าง เท่่าเทีียมกััน
  • ดำเนิินการในเชิงรุกด้านสิทธิมนุษยชนผ่่านกระบวนการจัดการด้าน สิิทธิิมนุุษยชน (Human Rights Due Diligence Process) อย่่างต่่อเนื่่อง
  • รับผิิดชอบและมุ่่งมั่่นในการปลูกฝังให้ทุุกส่่วนในองค์กรเคารพในสิทธิมนุุษยชน ของทุุกภาคส่่วน โดยเฉพาะผู้้ที่่มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียของบริษัท พร้อมทั้งกำกับดููแล มิให้ธุรกิิจของบริษัทเข้าไปมีส่่วนเกี่ยวข้องกัับการล่่วงละเมิิดสิิทธิิมนุุษยชน
  • มีกลไกในการเยียวยาแก้้ไขฟื้นฟู และชดเชยเมื่่อเกิิดผลกระทบหรือมีการละเมิิด สิิทธิิมนุุษยชนที่่เนื่่องมาจากการดำเนิินกิจกรรมทางธุุรกิจขององค์กร
  • สื่อสารและเผยแพร่แนวทางการปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนให้กับผู้้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย รวมถึงเปิดให้มีช่่องทางการร้องทุกข์ของไทยเบฟที่่โปร่่งใสและมีประสิิทธิภาพ
  • ให้ความรู้ฝึกอบรม และสนับสนุนให้้พนัักงาน บริษัทคู่ค้า และลููกค้า เคารพ ในสิทธิมนุุษยชนของผู้มีส่่วนได้ส่่วนเสียในธุุรกิิจของตนอย่่างเข้มงวด
กระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุุษยชนอย่างรอบด้าน
เป็็นกิจกรรมจัดต่่อเนื่่องเป็นปีที่่ 3 นัับตั้งแต่่เริ่่มโครงการในปีี 2560 โดยไทยเบฟมีีประเด็็นความเสี่่ยงด้านสิทธิมนุุษยชนที่่สำคััญ 3 ประเด็็น ที่่เกี่่ยวข้องกับผู้้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย คืือ
  • สุขภาพและความปลอดภััยของพนัักงาน
  • สภาพการทำงานของพนัักงาน
  • สุขภาพและความปลอดภัยของชุมชน
ซึ่งกระบวนการต่่อไปและดำเนิินการต่่อเนื่่องอย่่างยั่่งยืนคือ การประชุมผู้ที่่ เกี่่ยวข้องทุกฝ่่าย เพื่่อหาข้้อ สรุุปในการแก้ไข ลงมือปฏิบัติดำเนิินการ การวัดผลสำเร็จ และส่่งเสริมในเรื่องการสื่อสารให้กัับผู้้ที่่เกี่่ยวข้องต่่อไป

1. ประกาศนโยบายด้้านสิิทธิิมนุุษยชน
ไทยเบฟมุ่่งมั่่นให้้ผู้บริหารระดัับสููงและพนัักงานรวมถึงหน่่วยงาน ที่่อยู่ภายใต้การดููแลและกิจการร่่วมค้า คู่ค้้าและพัันธมิิตร ทางธุรกิจเคารพในสิิทธิมนุษยชนของผู้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีย ทั้งหมดภายใต้กรอบของกฎหมายและหลัักสิทธิมนุษยชน รวมทั้งมาตรฐานแรงงานสากลอย่่างเท่่าเทีียมกััน โดยไม่่เลือก ปฏิบััติไม่่ว่่าจะมาจากเรื่องเชื้อชาติิ สััญชาติ เผ่่าพัันธุ์ เพศ ภาษา อายุุ สีีผิว ความแตกต่่างทางร่่างกาย ความเชื่อในลััทธิ ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง การศึก ษา สถานภาพ ทางสัังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม การเป็นสมาชิกสหภาพ ความหลากหลายทางเพศ หรือเรื่องอื่่นใดที่่ถือว่่าเป็็น สิทธิมนุษยชน เพื่่อให้แน่่ใจว่่าสิทธิขั้นพื้้นฐานของผู้้มีส่่วนได้ส่่วนเสียทุุกภาคส่่วนได้รับ ความเคารพอย่่างเสมอภาค ซึ่่งการปฏิบััติ ตามสาระของนโยบายด้านสิทธิมนุุษยชนอย่างเข้มงวดของผู้มีี ส่่วนได้้ส่่วนเสีียทั้้งหมดที่่ กล่่าวมาข้างต้นนั้นนับเป็นสิ่่งจำเป็็นยิ่่ง นอกจากนี้้ไทยเบฟยัังมีีการตรวจสอบความเสี่่ยงด้านสิทธิมนุุษยชน ในทุกุ ๆ กิจกรรมทางธุรกิจอย่่างสม่ำเสมอ รวมทั้งผลกระทบ โดยตรงจากการทำงานและผลกระทบที่่ไทยเบฟอาจมีส่่วนเกี่่ยวข้อง หรืือมีบทบาทในการส่่งเสริมสนัับสนุนในทุก ๆ ส่่วนของการ ดำเนิินการ พร้อมทั้้งเปิดช่่องทางในการแจ้งเบาะแสการกระทำผิิด และการร้องเรียนสำหรับเรื่องราวหรือกรณีที่่น่่าเป็นห่่วงเกี่่ยวกัับ การละเมิิดสิิทธิมนุุษยชน
2. ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบด้้านสิิทธิิมนุุษยชน
การประเมินความเสี่่ยงด้้านสิิทธิมนุุษยชนนั้้นครอบคลุม กิิจกรรมทางธุุรกิิจทั้้งหมดของไทยเบฟ โดยมีีขั้้นตอนดัังนี้้
1. กำหนดประเด็็นด้้านสิทธิมนุุษยชน
  • กำหนดประเด็็นด้านสิทธิมนุุษยชนที่เกี่ยวข้องกัับ กิจกรรมทางธุุรกิจของไทยเบฟ
  • กำหนดกลุ่มผู้มีีส่่วนได้ส่่วนเสีียที่่ได้รับผลกระทบ รวมทั้งกลุ่่มที่่มีความเปราะบาง อาทิ สตรีเด็ก ชนพื้นเมือง แรงงานต่่างด้้าว แรงงานที่่มีีสััญญาจ้าง ในลัักษณะบุุคคลที่่สาม และชุมชนท้องถิ่่น
2. จัดลำดับความเสี่ยงตามลัักษณะธรรมชาติ
  • จัดลำดัับความเสี่ยงตามลัักษณะธรรมชาติ (ความเสี่่ยงที่่ปราศจากการควบคุมุ หรืือมาตรการ) ของประเด็นด้้านสิทธิมนุุษยชนที่่กำหนดขึ้้น
3. จัดลำดับความเสี่่ยงที่่เหลืออยู่
  • สำหรับความเสี่ยงตามลัักษณะธรรมชาติในระดัับสููง การจัดลำดัับความเสี่่ยงที่่เหลืออยู่่ความเสี่่ยงที่่ทาง บริษัทมีการควบคุมหรือมาตรการอยู่แล้้ว
4. วางลำดัับความสำคััญของความเสี่่ยง
  • จัดลำดัับให้ความสำคััญประเด็นสิทธิมนุุษยชนที่่สำคัญที่่สุุดโดยอ้างอิงถึงประเด็็นสิิทธิมนุุษยชนที่่มีีความเสี่่ยงที่่เหลืออยู่ในระดัับสูงที่่กำหนดไว้แล้้ว
3. บูรณาการผลการประเมินความเสี่่ยงและผลกระทบด้้านสิิทธิิมนุุษยชน
เมื่่อได้้มีีการดำเนินการตามมาตรการบริหารจัดการแล้้ว ไทยเบฟได้้ดำเนิินการเฝ้้าระวังและตรวจสอบผลการทำงาน เพื่่อให้้มั่นใจว่่าจะเกิิดพัฒนาการอย่่างต่่อเนื่องและก่่อให้้เกิิด ประสิิทธิภาพสูงสุุด ซึ่งเป็นส่่วนหนึ่่งของการสร้างสรรค์์และ แบ่่งปัันอย่่างมั่่นคงและยั่่งยืืนของไทยเบฟต่่อผู้้มีีส่่วนได้ ส่่วนเสีียทุกกลุุ่่ม
ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเบฟให้ความสำคัญโดยติดตามและเฝ้าระวังในปี 2563
สุุขภาพและความปลอดภััยของพนัักงาน
  • การทำงานตลอดจนกระทั่่งการผ่่อนผัันมาตรการล็็อกดาวน์์ ระยะที่่ 3 เช่่น ความเสี่่ยงจากโรคโควิด -19
  • อุบััติเหตุจากการขนส่่ง เช่่น การบาดเจ็บการสูญเสีียชีวิต
  • อุบัุัติเหตุที่อาจเกิดขึ้้นจากการติดตั้้งหรืือรื้้อถอนกิิจกรรม ต่่าง ๆ เช่่น การติิดตั้้งอุปกรณ์
  • ความเสี่่ยงที่่มีีผลกระทบทางสุขุภาพและความปลอดภััย ที่่เกิิดจากการปฏิิบััติิงานในยามวิกิาล เช่่น อุบัุติิเหตุุ การเดิินทางในเวลากลางคืืน
  • อุบััติิเหตุที่อาจเกิิดขึ้้นจากการยกสิ่่งของขึ้นชั้้นวางและ การตรวจเช็กสินค้้าในคลัังของลููกค้า
มาตรการป้องกัันและบรรเทา
  • การตรวจเช็กระดัับแอลกอฮอล์์ในร่่างกายและความพร้อม ก่่อนการขนส่่ง
  • การตรวจเช็กความดัันและการเต้้นของหััวใจของพนัักงาน ขัับรถก่่อนการขัับรถ
  • การตรวจเช็กสภาพยานพาหนะที่่ใช้ในการขนส่่ง อย่่างสม่ำเสมอ
  • การปฏิิบััติิตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข 
  • การเตรียมอุปกรณ์์ป้องกัันอันตรายส่่วนบุคคล (PPE)
  • การอบรมด้้านความปลอดภัยในการทำงาน เช่่น ขั้้นตอนในการ ทำงานที่่ถูกต้องปลอดภััย และการใช้อุปกรณ์ป้องกััน
  • มาตรการบรรเทาโรคโควิด-19 เช่่น การบริหารจัดการพื้้นที่่ ในการทำงาน (physical distancing at workplace)
  • ประกัันโควิดิ -19
สุุขภาพและความปลอดภััยของชุุมชน
  • ผลกระทบทางสุขุภาพและความปลอดภััยจากเส่ียงของกิิจกรรม
  • อุบััติิเหตุจากการขนส่่งที่่ส่่งผลต่่อผู้ค้นในท้้องถิ่่น
มาตรการป้องกัันและบรรเทา
  • การแจ้งชุมชนท้องถิ่นให้้รับทราบเกี่่ยวกัับกิิจกรรมที่่จะเกิิดขึ้้นก่่อนการเริ่่มต้้น
  • การควบคุมเสีียงตามกฎหมายและข้อบังคัับต่่าง ๆ
  • หลีกเลี่ยงการจัดกิิจกรรมในพื้้นที่่ที่่กิิจกรรมอาจก่่อให้้เกิิดผล ในทางลบให้้กัับผู้ค้นในท้้องที่่
  • อบรมเน้้นย้ำถึึงกฎระเบียบและขั้้นตอนการปฏิบััติิหน้าที่่ รวมถึึงมีีการคาดโทษหากมีการดื่่มเครื่องดื่่มที่่มีแอลกอฮอล์์ ระหว่่างปฏิิบััติิหน้าที่่ของพนัักงาน
  • แบ่่งปันความรู้้เกี่ยวกัับสุขุภาพและความปลอดภัย
สภาพการทำงาน
  • การทำงานจนถึึงยามวิกาลเพื่่อเตรียมกิิจกรรม
  • การทำงานช่่วงวันหยุดสุุดสัปดาห์์และวันหยุดอื่น ๆ
  • การเยี่่ยมเยีียนลููกค้าในพื้นที่่เสี่่ยงโรคโควิด-19 และพื้นที่่ที่่มีี ข้้อพิิพาทภายใน
  • ความเสี่่ยงของพนัักงานเพศหญิิงในการเยี่่ยมเยีียนลููกค้้า ตอนกลางคืืน
มาตรการป้องกัันและบรรเทา
  • ประกัันชีวิต
  • ชดเชยวันหยุดและ/หรืือ ค่่าตอบแทนเพื่่อชดเชยการทำงาน ในวันั หยุดสุุดสัปดาห์์และวันหยุดอื่นๆ
  • อบรมและส่่งเสริมการป้้องกัันการระบาดของโรคโควิดิ -19 รวมถึึงการใช้เทคโนโลยีีดิิจิทัลในการทำงานเพื่่อป้องกััน ความเสี่่ยงในการเยี่่ยมลููกค้า
  • จัดเตรียมอุปกรณ์์ป้องกััน และการช่่วยเหลือทางการเงิน ระหว่่างการระบาดของโรคโควิด-19
  • การตรวจเช็กสภาพยานพาหนะที่่ใช้ในการขนส่่งอย่่างสม่ำเสมอ
  • แบ่่งปันความรู้้เกี่่ยวกัับสุขุภาพและความปลอดภััย
การไม่่เลืือกปฏิิบััติ
  • การแบ่่งประเภทของผู้้ปฏิิบััติิงานที่่ได้้รับค่่าตอบแทน แตกต่่างกััน
  • การแบ่่งพวกจากงานหรือแนวความคิิดที่่อาจเกิิดขึ้น
  • การคุกคามทางเพศที่่อาจเกิิดขึ้้น (พนัักงานส่่งเสริมการขาย)
มาตรการป้องกัันและบรรเทา
  • จัดสัััดส่่วนประเภทของผู้้ปฏิิบััติิงานเพื่่อให้้ทุกคนได้้รับการ ปฏิิบััติิเท่่าเทีียมกััน
  • แนะนำวิธีการสื่่อสาร (เช่่น ความสุภาพท่่าทาง)
  • ออกแบบเครื่องแต่่งกายให้้เหมาะสม (พนัักงานส่่งเสริมการขาย)
4. ติดตามและรายงานผลการดำเนิินงานด้้านสิิทธิิมนุุษยชน
ไทยเบฟยึึดมั่่นในการทบทวนหลักการตรวจสอบและประเมิิน ผลกระทบด้้านสิิทธิมนุษยชน รวมทั้้งรายงานการทำงานด้้าน สิิทธิมนุษยชนประจำปีผ่่านรายงานการพัฒนาที่่ยั่่งยืืนประจำปี หรืือในเว็บไซต์ของไทยเบฟนอกจากนี้้ยัังติิดตามการละเมิิด สิิทธิมนุษยชนที่่อาจเกิิดขึ้้นกัับผู้้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีียผ่่านทาง ช่่องทางการสื่่อสาร ดัังนั้นเพื่่อช่่วยบรรเทาผลกระทบที่่เป็น อันตรายและให้การเยีียวยาที่่เหมาะสมกัับผู้้มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย ที่่ได้้รับผลกระทบ ไทยเบฟสนับสนุน ให้้ผู้มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย ทั้้งหมดรายงานการละเมิิดที่่ เกิิดขึ้นผ่่านช่่องทางการสื่่อสาร ดัังนี้้
บริษัิ ัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกััด (มหาชน)
เลขที่่ 14 ถนนวิภาวดีีรังสิต แขวงจอมพล
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท์์ 0 2785 5555 โทรสาร 0 2785 5882
เว็บไซต์์ http://www.thaibev.com
5. แก้้ไขให้้ถูกต้้องและเยีียวยาผลกระทบเชิิงลบที่่เกิิดขึ้้น
ไทยเบฟเข้าใจดีว่่ากิิจกรรมทางธุรกิจของบริษััทอาจเป็นสาเหตุ หรือส่่วนหนึ่งหรืือมีความข้องเกี่่ยวกัับการละเมิิดสิทธิมนุุษยชนของ ผู้้มีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย ดัังนั้้นเพื่่อให้้บรรลุเป้าหมายในพัันธสััญญานี้้ ไทยเบฟจึงมุ่่งมั่่นและพยายามที่่จะบรรเทาความเสี่่ยงและการละเมิิด ที่่อาจเกิิดขึ้้นได้้โดยดำเนิินการประเมินความเสี่่ยงด้้านสิิทธิมนุุษยชน ในกรอบเวลาที่่เหมาะสมเพื่่อระบุุสถานการณ์การละเมิิดสิทธิิมนุุษยชน ที่่เกิิดขึ้้นในกิิจกรรมทางธุรกิจของไทยเบฟ ขณะเดีียวกััน ไทยเบฟยัังกำหนดมาตรการบรรเทาเพิ่่มเติิมอื่น ๆ ด้้วยมีีเป้้าหมายเพื่่อเยีียวยาและลดการละเมิิดสิิทธิมนุุษยชน ซึ่งอาจเกิิดจากหรืือได้้รับการสนัับสนุนจากกิิจกรรมทางธุุรกิิจ ของไทยเบฟ นอกจากนี้้ยัังจัดให้้มีีการตรวจสอบรายงานผล การทำงานและทบทวนพัันธกิิจในนโยบายด้้านสิิทธิมนุุษยชน เป็็นประจำทุกปีเพื่่อให้้การบริหารจัดการด้้านสิิทธิมนุุษยชน เกิิดประสิิทธิภาพสููงสุด ทั้้งนี้้ในปีี 2563 ไม่่พบรายงานการละเมิิดสิิทธิมนุษุยชน ดัังนั้้น จึึงยัังไม่่มีมาตรการการเยีียวยาใด ๆ เกิิดขึ้้น
โครงการส่่งเสริมนโยบายด้้านสิิทธิิมนุุษยชน
1. คณะทำงานบริหารจััดการสุุขภาพพนัักงาน
ไทยเบฟได้้มีีการจัดตั้ั้งคณะทำำงานบริหารจัดการสุขภาพ พนัักงาน ภายในกลุ่่มทรัพยากรบุุคคล โดยมีเป้้าหมายในการ สร้างสถานที่่ทำงานในไทยเบฟให้้เป็นองค์์กรแห่่งความสุข (Happy Workplace) ซึ่งคณะทำงานนี้้เป็นผู้้กำกัับดููแล ให้้สถานที่่ทำงานต่่าง ๆ ในองค์์กรให้้เหมาะสมกัับการทำงานของ พนัักงานทุกคน และสอดคล้้องกัับข้อกฎหมาย การสอดส่่อง ดููแลประเด็็นความเสี่่ยงด้้านสิิทธิมนุษยชนที่่เกี่่ยวข้องกัับ พนัักงาน รวมถึึงการเสริมสร้างสุุขภาพที่่ดีีของพนัักงาน ผ่่านโครงการต่่าง ๆ เช่่น การอบรมให้้ความรู้้ในการบริหาร ความเครียด และ Virtual Run

ในปี 2563 คณะทำงานบริหารจัดการสุุขภาพพนัักงาน ร่่วมกัับ กลุ่่มทรัพยากรบุคคล และหน่่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้้มีการ ช่่วยเหลือพนัักงานในองค์์กรในการรับมือกัับสถานการณ์ การระบาดของโรคโควิด-19 เช่่น การแจกจ่ายหน้้ากาก เจลแอลกอฮอล์์ และการช่่วยเหลือและอำนวยความสะดวก ให้้กัับพนัักงาน
2. งาน Global Summit of Women 2020
ไทยเบฟเป็นส่่วนหนึ่งในการสนัับสนุนงานประชุมสุดยอดผู้นำ สตรีโลก “Global Summit of Women 2020” โดยมอบเงิน จำนวน 100,000 เหรียญสหรัฐเนื่่องจากในปี 2563 ประเทศไทย ได้รับเกียรติให้เป็็นเจ้าภาพจัดงานประชุุมภายใต้้ Theme: “Women Revolutionizing Economies” พลัังสตรีพลิกเศรษฐกิจ เป็น งานประชุมที่่รวมเอาผู้้หญิงเก่่งในด้านธุุรกิจกว่่า 70 ประเทศทั่วโลก มาร่่วมกัันถกประเด็็นน่่าสนใจ แชร์ประสบการณ์ และมุุมมองต่่าง ๆ ในการทำงานหรือการเป็นผู้้นำในแบบฉบับผู้้หญิง นัับได้้ว่่าเป็น เวทีระดัับโลกที่่มีคีวามสำคััญ เชื่อมนัักธุรกิิจ นัักวิชาชีพผู้บริหาร ทั้้งภาครัฐภาคเอกชน และภาคสัังคมจากทั่่วโลก สร้างเครืือข่่าย ความร่่วมมือและแบ่่งปันประสบการณ์์เพื่่อขยายโอกาสทางธุรกิุิจ และส่่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของโลกอย่่างยั่่งยืืน และในปีนี้้ ยัังเป็นปีฉลองครบรอบ 30 ปี ของการจัดประชุมจึงเป็นโอกาส อัันดีในการส่่งเสริมภาพลัักษณ์ที่่ดีีให้แก่่ประเทศไทยสู่่สายตาเวทีโลก และตอกย้ำว่่าประเทศไทยให้้ความสำคัญต่่อบทบาทของสตรีในภาค ธุุรกิิจ ที่่เป็็นส่่วนสำคััญของการขั บั เคลื่่อนเศรษฐกิจและการพั ัฒนา สัังคมทั้้งในระดัับประเทศและระดัับโลก
ทิิศทางการดำเนิินงาน ปีี 2559 - 2563
  • เริ่่มโครงการติดตามตรวจสอบสิิทธิมนุษยชนอย่่างรอบด้้าน (Human Rights Due Diligence Process) โดยจัด กระบวนการตรวจสอบต่่อเนื่่องเป็นประจำทุกปีี
  • ก่่อตั้้งคณะทำงานบริหารความผาสุกของพนัักงานเพื่่อเป็น ช่่องทางที่่สำคััญทางหนึ่งในการรับเรื่องร้องเรียนและ ร้องทุกขุ์จากพนัักงานที่่ถููก ละเมิิดในด้านสิทธิมนุษยชน
  • ทบทวนนโยบายด้้านสิิทธิมนุษุยชนโดยมุ่่งมั่่นที่่จะปฏิบััติตาม กฎหมายและข้อบังคัับอื่น ๆ และมุ่่งสู่มาตรฐานที่่สููงขึ้้น
  • ไทยเบฟมีแผนในการสร้างความรู้้และความเข้าใจในเรื่องสิิทธิ มนุษุยชน โดยสื่่อสารและจัดฝกอบรมอย่่างต่่อเนื่่องให้้กัับ พนัักงานในกลุ่่มไทยเบฟทั้้งในประเทศและต่่างประเทศ รวมถึึง ผู้รับเหมา และบริษัทคู่ค้าของไทยเบฟ โดยจัดให้้มีีการฝึก อบรมประจำปีรวมทั้้งบรรจุไว้ในหลัักสููตรปฐมนิเทศพนัักงาน ใหม่่ ของไทยเบฟ
  • แก้ไขปรับปรุงสิ่่งที่่เป็นประเด็นความเสี่่ยง 3 ด้้านที่่ได้้จาก กระบวนการตรวจสอบด้้านสิิทธิมนุษยชนของไทยเบฟ ปี 2562 คืือ ด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนัักงาน ด้้านสภาพการ ทำงานของพนัักงาน และด้้านสุขภาพและความปลอดภัยของ ชุมชนพร้อมทั้้งหาวิธีป้องกัันความเสี่่ยงที่่อาจเกิิดขึ้นในอนาคต เช่่น ความปลอดภัย อาชีวอนามัยสภาพแวดล้อมในการทำงาน และความสุขของพนัักงานทั้งหมดอย่่างต่่อเนื่่องและครอบคลุม การจัดกิจกรรมด้้านความปลอดภัยแก่่พนัักงานในกลุ่่มไทยเบฟ รวมถึงการจัดโครงการสร้างวิทยากรกู้้ชีพ และกู้ภัยประจำสถาน ประกอบการและชุมุ ชนรอบโรงงาน
  • ตรวจประเมินความเสี่่ยงของคู่ค้ารายสำคััญที่่จำหน่่ายสิินค้้าและ บริการให้้กัับไทยเบฟโดยตรง (Critical Tier 1 Supplier) ณ สถาน ประกอบการทุกราย โดยครอบคลุมประเด็็นด้้านสิิทธิมนุษุยชน และร่่วมมืือกัับคู่ค้่ารายสำคััญเหล่่านี้้ในการบรรเทาความเสี่่ยงด้้าน สิิทธิิมนุุษยชนที่่อาจเกิิดขึ้้นจากคู่ค้้าของคู่ค้้า (Non-tier 1 Supplier)
แบ่งปันคุณค่า
คุณปริม มิตสีดา
ตำแหน่งงาน : ครัวร้อน / ครัวเย็น
โออิชิบุฟเฟต์
ได้โอกาสมาทำงานกับโออิชิแล้วมีความสุขสบายใจในการทำงานทุก ๆ เรื่อง เป็นเวลากว่า 8 ปีแล้วที่ได้เข้ามาเป็นครอบครัวโออิชิ รู้สึกภูมิใจ และรู้สึกขอบคุณโออิชิ รวมไปถึงเพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ที่เป็นเหมือนคนในครอบครัวเดียวกัน ไม่เคยทำให้รู้สึกอึดอัดหรือด้อยกว่าเลย ทั้งที่เรามีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวทางร่างกาย ตั้งแต่ที่เข้ามาก็ได้รับการฝึกอบรมในหน้าที่การงานต่าง ๆ เป็นอย่างดี ได้รับโอกาสต่าง ๆ ทำให้เราพัฒนาขีดความสามารถยิ่งขึ้นไปอีก ช่วยชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของเรา และสามารถทำงานส่งเงินกลับไปให้ครอบครัวที่ต่างจังหวัด และส่งลูก 2 คนจนสามารถเรียนจบได้ อยากที่จะส่งต่อความสุขที่ได้รับนี้สู่ลูกค้าทุก ๆ คนที่เข้ามารับประทานอาหารที่ร้านของเราค่ะ